สุรา...เป็นสารเสพติดประเภทหนึ่ง เพราะสุรามีลักษณะเดียวกับสิ่งเสพติด ชนิดอื่นๆ เนื่องจากถ้าเกิดอาการติดแล้วต้องเพิ่มปริมาณขึ้นเรื่อย ๆ ถ้าเลิกดื่มก็จะมีอาการอดเหล้า การติดสุรามีสาเหตุจากปัจจัยต่าง ๆ คือ
1.ตัวผู้ติดสุรา อยากลองเห็นเป็นเรื่องที่ท้าทาย ตื่นเต้น สนุกสนาน โดยเฉพาะในวัยรุ่น มีกรรมพันธุ์ พบว่าผู้ติดสุรา ประมาณร้อยละ ๒๕ มักมีบิดาและพี่น้องผู้ชายติดสุราด้วย มีลักษณะบุคลิกภาพ แบบประหม่า วิตกกังวล ไม่มั่นใจ และถ้าการบริโภคแอลกอฮอล์ช่วยทำให้สิ่งเหล่านี้หายไป เช่น ทำให้รู้สึกกล้า และมั่นใจมากขึ้น
2.ตัวสารแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์เป็นสาร ที่มีคุณสมบัติทำให้เกิดการเสพติดได้ โดยแอลกอฮอล์จะไปกระตุ้นสมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความอยาก การเสพติดเป็นวงจรของสมองที่เกี่ยวกับความอยาก ความพึงพอใจ ซึ่งเป็นส่วนของสมองที่เกี่ยวข้องกับการติดสารเสพติด ทำให้ผู้เสพเกิดความพอใจ และมีความต้องการใช้ซ้ำอีก หักห้ามใจไม่ได้ ซึ่งนำไปสู่การติดในที่สุด และในหลายๆครั้ง ทำให้มีการกลับไปใช้สารนี้ใหม่อีก เพราะความอยาก ปัญหาของการเลิกแอลกอฮอล์จึงไม่ได้
3. สิ่งแวดล้อม เป็นแรงเสริมทำให้ติดสุราได้ เช่น สังคมและวัฒนธรรมสังคมไทยมองเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ว่าเป็นเรื่องธรรมดา หามาดื่มได้ง่าย บางครอบครัวมีสุราไว้ประจำบ้าน มีกลุ่มเพื่อนชักจูง ดังนั้นเมื่อมีปัญหาครอบครัว มีความเครียดในชีวิตต่าง จะหันมา พึ่งแอลกอฮอล์ จนเกิดการติดขึ้นได้ในที่สุด
คลินิครักสุขภาพ รพร.ด่านซ้าย
ให้บริการเลิกสุรา ,บุหรี่ ทุกบ่ายวันอังคารที่ฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัว
วันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556
เทคนิคดีๆ ในการลดปริมาณการดื่ม ถ้ายังเลิกขาดไม่ได้?
1. ตั้งจุดมุ่งหมายถึงปริมาณและจำนวนวันที่ตั้งใจจะดื่มแอลกอฮอล์
2. ตั้งจังหวะการดื่มในแต่ละครั้ง เช่นจิบอย่างช้าๆ ดื่มน้อยกว่า 1 แก้วต่อชั่วโมง หรือสลับเปลี่ยนด้วยเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบ เช่น น้ำเปล่า น้ำอัดลม หรือ น้ำผลไม้
3. รับประทานอาหารร่วมด้วยขณะดื่ม จะทำให้แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมได้ช้าลง
4. หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นเช่น ถ้าเห็นคนบางคน หรือ สถานที่บางอย่าง แล้วทำให้รู้สึกอยากดื่ม ก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงเหตุการณ์นั้นๆ ถ้ากิจกรรมบางอย่างเป็นตัวกระตุ้น ก็ควรที่จะวางแผนว่าจะทำอะไรแทนกิจกรรมนั้น แต่ถ้าการอยู่ที่บ้านเป็นตัวกระตุ้น ก็ควรที่จะไม่มีแอลกอฮอล์เก็บไว้ในบ้าน
6. วางแผนที่จะจัดการกับความรู้สึกอยากดื่มเมื่อมันเกิดขึ้น เช่น เตือนตนเองถึงเหตุผลที่ต้องการเลิก พูดคุยกับคนที่รู้สึกไว้วางใจ หรือหันไปทำกิจกรรมอื่นที่ไม่กระตุ้นให้ดื่ม หรือบางทีก็ปล่อยให้ความรู้สึกอยากดื่มนี้มีต่อไป โดยยอมรับถึงความรู้สึกนี้ และรู้ว่าอีกไม่นานมันก็จะหายไป
7. รู้จักที่จะปฏิเสธ เนื่องจากจะมีบ่อยครั้งที่คนอื่นจะชักชวนให้ดื่ม โดยทำอย่างสุภาพ และจริงจัง ยิ่งปฏิเสธได้เร็วเท่าใด ยิ่งทำให้มีโอกาสน้อยที่จะกลับไปดื่มอีก ดังนั้นไม่ควรลังเลที่จะปฏิเสธอย่างทันทีทันใด เมื่อมีผู้ชักชวนให้ดื่ม
8. การมีกลุ่มที่ช่วยเหลือสนับสนุนกันในการเลิกการดื่ม จะสามารถช่วยให้มีกำลังใจ ได้เห็นตัวอย่างของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการเลิกดื่ม และให้ประสบการณ์หรือวิธีการของแต่ละคนในการเลิกการดื่มได้ด้วย
กล่าวโดยสรุปแล้วการเลิกดื่มสุราหรือเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์นั้นต้องมีความตั้งใจ และหาแรงจูงใจในการเลิกดื่ม เช่น เลิกดื่มเพราะสุขภาพ เป็นต้น จากนั้นเมื่อตั้งใจจะเลิกแล้วอย่างแน่นอนแล้ว ควรมีการค้นหาว่าตนเองมีลักษณะการดื่มเป็นเช่นไร อะไรเป็นตัวกระตุ้นให้ดื่ม จากนั้นพิจารณาว่าตนเองดื่มสุราอยู่ในระดับใด หากเข้าเกณฑ์ของการเป็นผู้ติดสุรา ควรที่จะปรึกษาแพทย์เพื่อรับยาช่วยในการเลิกการดื่มพร้อมกับทำพฤติกรรมบำบัดหรือจิตบำบัดร่วมด้วย
2. ตั้งจังหวะการดื่มในแต่ละครั้ง เช่นจิบอย่างช้าๆ ดื่มน้อยกว่า 1 แก้วต่อชั่วโมง หรือสลับเปลี่ยนด้วยเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบ เช่น น้ำเปล่า น้ำอัดลม หรือ น้ำผลไม้
3. รับประทานอาหารร่วมด้วยขณะดื่ม จะทำให้แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมได้ช้าลง
4. หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นเช่น ถ้าเห็นคนบางคน หรือ สถานที่บางอย่าง แล้วทำให้รู้สึกอยากดื่ม ก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงเหตุการณ์นั้นๆ ถ้ากิจกรรมบางอย่างเป็นตัวกระตุ้น ก็ควรที่จะวางแผนว่าจะทำอะไรแทนกิจกรรมนั้น แต่ถ้าการอยู่ที่บ้านเป็นตัวกระตุ้น ก็ควรที่จะไม่มีแอลกอฮอล์เก็บไว้ในบ้าน
6. วางแผนที่จะจัดการกับความรู้สึกอยากดื่มเมื่อมันเกิดขึ้น เช่น เตือนตนเองถึงเหตุผลที่ต้องการเลิก พูดคุยกับคนที่รู้สึกไว้วางใจ หรือหันไปทำกิจกรรมอื่นที่ไม่กระตุ้นให้ดื่ม หรือบางทีก็ปล่อยให้ความรู้สึกอยากดื่มนี้มีต่อไป โดยยอมรับถึงความรู้สึกนี้ และรู้ว่าอีกไม่นานมันก็จะหายไป
7. รู้จักที่จะปฏิเสธ เนื่องจากจะมีบ่อยครั้งที่คนอื่นจะชักชวนให้ดื่ม โดยทำอย่างสุภาพ และจริงจัง ยิ่งปฏิเสธได้เร็วเท่าใด ยิ่งทำให้มีโอกาสน้อยที่จะกลับไปดื่มอีก ดังนั้นไม่ควรลังเลที่จะปฏิเสธอย่างทันทีทันใด เมื่อมีผู้ชักชวนให้ดื่ม
8. การมีกลุ่มที่ช่วยเหลือสนับสนุนกันในการเลิกการดื่ม จะสามารถช่วยให้มีกำลังใจ ได้เห็นตัวอย่างของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการเลิกดื่ม และให้ประสบการณ์หรือวิธีการของแต่ละคนในการเลิกการดื่มได้ด้วย
กล่าวโดยสรุปแล้วการเลิกดื่มสุราหรือเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์นั้นต้องมีความตั้งใจ และหาแรงจูงใจในการเลิกดื่ม เช่น เลิกดื่มเพราะสุขภาพ เป็นต้น จากนั้นเมื่อตั้งใจจะเลิกแล้วอย่างแน่นอนแล้ว ควรมีการค้นหาว่าตนเองมีลักษณะการดื่มเป็นเช่นไร อะไรเป็นตัวกระตุ้นให้ดื่ม จากนั้นพิจารณาว่าตนเองดื่มสุราอยู่ในระดับใด หากเข้าเกณฑ์ของการเป็นผู้ติดสุรา ควรที่จะปรึกษาแพทย์เพื่อรับยาช่วยในการเลิกการดื่มพร้อมกับทำพฤติกรรมบำบัดหรือจิตบำบัดร่วมด้วย
ผลของการดื่มสุราต่อสุขภาพ
ผู้ที่ดื่มสุราเรื้อรังจะมีอายุเฉลี่ยสั้นลง 10-14 ปี
แต่ถ้าดื่มตามกำหนดอายุเฉลี่ยจะยาวกว่าคนที่ไม่ได้ดื่ม
โดยเฉพาะเมื่อเริ่มดื่มเมื่อมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจ บางคนแนะนำให้ดื่มหลังอายุ 60ปี ถ้าได้ดื่มเกินขนาดอาจจะทำให้เสียชีวิต
หากคุณดื่มสุราเป็นประจำมากเกินไปอาจจะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพดังนี้
ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ
·
ผู้ที่ดื่มมากกว่า 3 หน่วยสุราทุกวันจะมีโอกาสความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะผู้สูงอายุหากดื่มมากความดันก็จะสูง
ยิ่งดื่มมากยิ่งสูงมาก เมื่อความดันโลหิตสูงก็เป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ
และโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ที่ดื่มครั้งละมากกว่า 8 หน่วยสุราต่อครั้งจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนปกติ
2 เท่า
ผู้ดื่มสุราเป็นปริมาณมากและเรื้อรังจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจวาย
·
จากการศึกษาผู้ป่วยเป็นจำนวนมากพบว่าหากดื่มสุราขนาดปานกลางดังกล่าว
จะมีอัตราการตายจากโรคหัวใจน้อยกว่าผู้ที่ดื่มมากและผู้ที่ไม่ดื่มสุรา
การจะให้ลดอัตราการตายควรจะดื่มเมื่ออายุมากกว่า 65 ปีและมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
ชนิดของสุราที่ลดอัตราการตายได้ดีคือพวกไวน์ทั้งนี้
อาจจะเนื่องจากผู้ที่ดื่มไวน์มักจะสูบบุหรี่น้อยกว่าพวกที่ดื่มสุราอย่างอื่น
และได้รับสารอาหารครบถ้วนกว่า
มีคำอธิบายว่าทำไมสุราจึงลดอัตราการเกิดโรคหัวใจโดยปกติแล้วการเกิดโรหลอดเลือดหัวใจตีบตันจะต้องมี
1การที่หลอดเลือดแดงตีบ 2มีลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดแดง
3ลิ่มเลือดทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่พอ
สุราจะช่วยโดยป้องกันการหดตัวของหลอดเลือด ป้องกันการแข็งตัวของลิ่มเลือด
และทำให้ลิ่มเลือดละลายเร็ว
·
แต่อย่างไรก็ตามท่านต้องชั่งน้ำหนักให้ดีว่าประโยชน์และโทษอันไหนมากกว่ากัน
หากดื่มมากเกินก็เสี่ยงต่อโรคกระเพาะ ตับแข็ง อุบัติเหตุ
สำหรับท่านที่ไม่ได้ดื่มอยู่แล้วแนะนำว่าไม่ควรดื่มเพราะมีอีกหลายวิธีที่จะป้องกันโรคหัวใจ
สำหรับท่านที่ดื่มก็แนะนำให้ลดปริมาณลงเท่าที่กำหนด
ผลของสุราต่อการทำงานของสมอง
ผู้สูงอายุจะมีปัญหาเรื่องความจำและความคิดอ่าน
หากดื่มสุราจะทำให้สมองฝ่อก่อนวัยโดยเฉพาะสมองส่วนหน้า frontal lobes ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิดอ่าน
ผู้สูงอายุมักจะมีปัญหาเรื่องการทรงตัว
การดื่มสุราก็จะทำให้การทรงตัวเสียมากขึ้นจึงหกล้มมากขึ้น
น้ำหนักเกิน
สุราก็มีพลังงาน
เช่นเบียร์หนึ่งแก้วจะให้พลังงาน 95 กิโลแคลอรี
หากคุณอ้วนคุณก็จะมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
อุบัติเหตุ
คนที่ดื่มสุรามักจะเกิดอุบัติเหตุทั้งที่บ้าน
ที่ทำงานและบนท้องถนน และเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุมากกว่าครึ่ง
เมื่อคุณดื่มสุรามากกว่า 2 หน่วยก็ทำให้ความสามารถในการขับขี่ลดลง
ผู้ที่ดื่มสุราหนึ่งหน่วยจะเพิ่มความเสี่ยงเป็นสองเท่า ผู้ที่ดื่ม 4 หน่วยสุราจะเพิ่มความเสี่ยง 7 เท่า
นอกจากนั้นผู้ที่ดื่มสุราอาจจะทำให้เกิดความรุนแรงภายในบ้าน
โรคตับ
สุราทำให้เกิดโรคตับได้หลายอย่าง
เช่นไขมันจับที่ตับ Fatty liver พบได้บ่อยเมื่อเลิกสุราก็จะกลับมาปกติ ตับอักเสบ พบว่าร้อยละ 10-35
ของผู้ดื่มสุรามากจะเป็นตับอักเสบ ร้อยละ 10-20 จะเป็นตับแข็ง ผู้ที่ดื่มสุราและไม่ค่อยรับประทานอาหารจะมีโอกาสเป็นตับแข็งสูงและมะเร็งตับ
การรักษาที่ดีที่สุดคือการอดสุรา
ผู้ที่มีไขมันเกาะที่ตับหรือตับอักเสบจะกลับสู่ปกติ
ส่านผู้ที่ตับแข็งคุณภาพชีวิตจะดีขึ้นหลังจากอดสุรา มีรายงานว่าต้องให้สารอาหารคาร์โบไฮเดตร์ให้พอ
ให้สาร polyunsaturated lecithin (PUL)(ซึ่งสกัดจากถั่วเหลือง)ให้เพียงพอเพราะสารนี้จะไปลด
scar นอกจากนั้นควรจะได้สาร S-adenosyl-l-methionine
(SAM) ซึ่งกล่าวว่าจะลดการอักเสบของตับ
มะเร็งระบบอื่น
ได้แก่มะเร็งปาก ปอด หลอดอาหาร ตับอ่อน
และคอหากสูบบุหรี่จะทำให้ความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
หากดื่มเกินขนาดอาจจะทำให้ปวดท้อง
เป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
ผลของสุรากับการทำงานของสมองและการนอนหลับ
สุราจะมีผลต่อสมองทุกส่วน
ทำให้เกิดอาการซึมเศร้า สับสน บางรายอาจจะทำให้เกิดโรคจิต และหลอดเลือดสมองแตกการนอนหลับเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต ผลของสุราต่อการนอนหลับแบ่งออกเป็น
·
ผลของสุราต่อผู้ที่ไม่ได้เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง
ผู้ที่ดื่มสุราก่อนนอนจะทำให้หลับง่ายเนื่องฤทธิ์กดประสาทของสุรา
หลังจากนอนไปหนึ่งชั่วโมงก็จะมีการตื่นบ่อยและหลับยากโดยเฉพาะผู้สูงอายุจะเกิดอาการได้ง่ายและมากกว่าคนหนุ่ม
และเมื่อตื่นมาการทรงตัวจะไม่ดีทำให้ล้มลงกระดูกหักได้ง่าย
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะเพลียและง่วงในตอนกลางวัน สำหรับผู้ที่ดื่มสุราก่อนนอน 6 ชั่วโมงผู้ป่วยจะตื่นได้ง่ายและหลับยาก
·
ผลของสุราต่อผู้ที่เป็นพิษสุราเรื้อรัง
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีปัญหาเรื่องการนอนมาก นอนหลับยาก ตื่นบ่อย
คุณภาพของการนอนไม่ดีทำให้อ่อนเพลียในเวลากลางวัน
หากผู้ป่วยลดสุรามากเกินไปจะเกิดอาการลงแดง alcohol withdrawal syndrome จะนอนไม่หลับ
หรือช่วงสั้นๆ เกิดภาพหลอน
ผลต่อฮอร์โมน
สุราทำให้มีการสร้าง estrogen (ฮอร์โมนเพศหญิง)
สูงจึงเป็นสาเหตุให้เกิดสมรรถภาพทางเพศลดลง
ผลต่อกล้ามเนื้อและกระดูก
ผู้ที่ดื่มสุรานานจะทำให้เกิดโรคกระดูกจาง
กล้ามเนื้อรีบ คันปริเวณผิวหนัง
ผู้หญิงกับการดื่มสุรา
ผู้หญิงไม่ควรดื่มสุราเนื่องจากผู้หญิงจะมีระดับสุราและโรคแทรกซ้อนมากกว่าผู้ชายเมื่อดื่มสุราปริมาณเท่ากัน
มีการศึกษาในสหรัฐพบว่าผู้หญิงร้อยละ 34 ดื่มสุรามากกว่า 12 หน่วยเมื่อเทียบกับผู้ชายดื่มซึ่งมีผู้ที่ดื่มร้อยละ
56 อายุที่ดื่มมากคือ 26-34 ปี
คนท้องไม่ควรดื่มสุราเพราะจะทำให้เด็กเกิดมาน้ำหนักน้อย และมีปัญหาต่อสุขภาพเด็ก
ผลของสุราต่อสุขภาพผู้หญิงพบได้เหมือนกับผู้ชายแต่พบได้บ่อยกว่าและเป็นตอนอายุน้อยกว่า
โรคตับจะพบว่าหลังดื่มไม่นานผู้หญิงจะเป็นโรคตับอักเสบได้เร็วและตายจากโรคตับแข็ง
สมองของผู้หญิงที่ดื่มสุราจะมีขนาดเล็กกว่าผู้ที่ไม่ดื่ม ผลต่อหัวใจหากดื่มปริมาณ 1-2หน่วยสุราก็สามารถป้องกันโรคหัวใจและหากดื่มมากก็จะมีโรคกล้ามเนื้อหัวใจวาย
cardiomyopathy มีรายงานว่าผู้ที่ดื่มสุราจะเป็นมะเร็งเต้านมได้บ่อยกว่าผู้ที่ไม่ดื่ม
มีรายงานว่าผู้หญิงที่ดื่มสุรามักจะเป็นเหยื่อของความรุนแรง
เช่นการทุกทำร้ายร่างกาย การถูกข่มขืน
แบบฟอร๋มบันทึกการประเมินและวางแผนการดูแลอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจากสุรา
แบบบันทึกการประเมินและวางแผนการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจากสุรา
ชื่อ.........................................................อายุ……HN……………วันที่รับไว้...................วันที่จำหน่าย................
การประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
พฤติกรรมการดื่มสุร า ดื่มครั้งแรกเมื่ออายุ............ปี วันที่ดื่มแอลกอฮอล์ครั้งสุดท้าย…………………………….
การดื่มในปัจจุบัน (ชนิด/ปริมาณ/ความถี่/กับใคร/ตอนไหนบ้าง/เคยหยุดดื่มหรือไม่
ช่วงไหนเพราะอะไร หยุดแล้วมีอาการผิดปกติหรือไม่)
เหตุผลที่ยังดื่มปัจจุบัน.........................................................................................................................................
ผู้ดูแล .........................................................เกี่ยวข้องเป็น.............. เบอร์โทร....................... (ทำผังเครือญาติหน้าหลัง)
AUDIT SCORE ………………Level
social
harmful
hazardous
alc dependence
สรุป ปัญหาทางกาย จิต
การวินิจฉัย
|
วัน/ปีที่พบ
|
การวินิจฉัย
|
วัน/ปีที่พบ
|
การวินิจฉัย
|
วัน/ปีที่พบ
|
acute intoxication
|
|
alc withdrawal
|
|
Hepatitis
|
|
alc related accident
|
|
derilium tremens
|
|
Cirrhosis
|
|
alc psychosis
|
|
depression
|
|
UGIH
|
|
drug addict
|
|
|
|
gastritis
|
|
Acute illnessอื่นๆ
|
โรคเรื้อรังอื่นๆ
|
สรุป ปัญหาทางจิต ครอบครัว สังคม
เศรษฐกิจ
1……………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………
แผนการจำหน่าย ระยะสั้น
การให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็น
|
วันที่
|
ผู้แนะนำ
|
ผู้รับข้อมูล
|
ประเมินผล
|
1.
การวินิจฉัยโรค
|
|
|
|
|
2.
ความรู้เกี่ยวกับโทษของการดื่มสุรา
|
|
|
|
|
3.
การดื่มที่ปลอดภัย
|
|
|
|
|
4.
กลไกการติดเหล้าของสมองและเทคนิคการเลิกสุรา
|
|
|
|
|
5.
medication ยาที่ได้รับ
ข้อควรระวัง ยาที่ห้ามใช้
|
|
|
|
|
6.
ด้านโภชนาการ
อาหารที่เหมาะสม /ควรหลีกเลี่ยง
|
|
|
|
|
7.
อาการและปัญหาฉุกเฉินที่ต้องมารพ.
ตาเหลือง เลือดออกผิดปกติ ถ่ายดำ ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ไข้สูง ประสาทหลอน
ซึมเศร้า........................................
|
|
|
|
|
8.
แนะนำคลินิกเลิกเหล้า
แหล่งที่พึ่ง ที่ปรึกษาปัญหาได้
(ชื่อ เบอร์โทร/hotline)
|
|
|
|
|
แผนการดูแลต่อเนื่อง
1.
การช่วยเหลือด้านกาย จิต ครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ
1.1
1.2
1.3
2.
การประเมินความตั้งใจและทัศนคติในการเลิกสุราและการบำบัด(ใช้ต่อเนื่องที่OPD/admitครั้งต่อไป)
วันที่
|
Stage of change
|
การช่วยเหลือบำบัด/ให้คำปรึกษา
|
แผนของผู้ป่วยและญาติ
|
ลักษณะการดื่มปัจจุบัน
|
|||
|
|
|
นัดวันที่
|
|
|
|
นัดวันที่
|
|
|
|
นัดวันที่
|
|
|
|
นัดวันที่
|
|
|
|
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)