แรงจูงใจ = แรงผลักดันที่ทำให้เราเดินทางไปสู่เป้าหมาย
MI การสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ (สิ่งทีเราต้องการคือ
การไปสู่เป้าหมายได้) (คล้าย patient
center medicine)
· ช่วยให้ผู้ป่วยได้สำรวจความคิดของตนเอง กระตุ้นจิตสำนึกภายใน กระตุ้นให้เกิด SMS (แรงจูงใจอาจมาจากผู้ป่วยหรือแพทย์ แต่จะให้ยั่งยืนต้องมาจากคนไข้)
o
ตั้งคำถามบางอย่าง Question โดยใช้คำถามปลายเปิด
open-end question เน้นทาง positive “คุณชอบ....อะไร คิดว่าข้อดีคืออะไร” แล้วถามต่อให้ละเอียด “ที่คุณว่า
......นั้นเป็นอย่างไร
ช่วยเล่าให้ฟังหน่อย”
o
สะท้อน reflection
สะท้อนคำพูดแนวคิดที่ดีๆที่ออกจากปากคนไข้อีกครั้ง “อื้ม คุณบอกว่า ออกกำลังกายแล้วทำให้มีความสุข
มีการเผาผลาญที่ดี ซึ่งหมอก็เห็นด้วย/หมอก็ว่าดี”
o
การสรุปความ summer
· ต่างกับ counseling ตรงที่เป็น
goal direct มีจุดหมายชัดหมาย (counseling อาจหวังแค่ว่าคนไข้ดีขึ้น)
ก่อนจะอยากให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เช่น สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ออกกำลังกาย ฯลฯ
ต้องประเมินก่อนว่า ผู้ป่วยอยู่ในระยะไหน (มี 5 ระยะ) ของการปรับพฤติกรรม ซึ่ง approach ต่างกัน
Stages of
Changes
Stages
of Changes
|
ลักษณะพฤติกรรม
|
การ approach
|
1.
ติด (Precontemplation)
ความคิด
:
-ไม่เห็นว่าเป็นปัญหา
-ไม่ได้คิดอยากแก้ไข มีความพอใจกับพฤติกรรมนั้น
-
มีข้ออ้างในการทำ
|
-ไม่เห็นปัญหาพฤติกรรมตนเอง
-หงุดหงิด ไม่พอใจที่พูดเรื่องนี้ หลีกเลี่ยงที่จะคุย
|
1.ขออนุญาตที่จะพูดเรื่องพฤติกรรมเสี่ยงก่อนเสมอ
2.ชักชวนให้เริ่มคิด ถึงการเปลี่ยนแปลงตัวเอง
3..แสดงความห่วงใยของแพทย์
4.
ไม่ต้องเน้นอธิบาย ใช้เวลาสั้นๆ
5..เชื่อมโยงสิ่งสำคัญของเขากับปัญหา
5.เปิดโอกาสไว้ว่าถ้าพร้อมจะเลิก, ก็พร้อมช่วยเหลือ
|
2
ไตร่ตรอง (Contemplation)
เริ่มคิดทบทวน
กำลังชั่งน้ำหนัก
ข้อดีข้อเสีย
รู้แต่ยังไม่พร้อมจะทำ
|
-เริ่มพูดถึงข้อดีข้อเสียของพฤติกรรม
-
ถามถึงวิธีการเปลี่ยน
-ไม่มีความหวังด้านบวกต่อการเลิกพฤติกรรมนั้น
|
1.ให้เวลาเต็มที่ (เขาอยากฟัง)
บอกข้อดีข้อเสียให้ชัด
2.ค้นหาเหตุความลังเล ให้กำลังใจว่าการปรับพฤติกรรมเป็นไปได้
3.ให้ทางเลือกว่าทำอะไรได้บ้าง
4.ชักชวนให้เกิดการวางแผนช่วยเหลือ
นัด F/U
|
3
เตรียมการ (Preparation)
มีแรงจูงใจบางส่วน
ตระหนักว่าข้อดีมากกว่าเสีย, มักจะมีแผนเริ่มทำ
|
-มีการปรึกษาหารือ แสวงหาข้อมูล
-แสดงเจตนาชัดเจนพูดถึงการเลิกพฤติกรรม
|
1.สรุปย้ำเหตุผลของผู้ป่วยที่จะปรับพฤติกรรม
2.กระตุ้นให้ลองทำโดยเร็ว
3.กำหนดวัน วิธี ลงรายละเอียดวิธีปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม อาจเป็นนัดครั้งต่อไป
4. ช่วยแก้อุปสรรค
5.แนะนำให้บอกคนสนิทว่าจะเปลี่ยนพฤติกรรม
6.
ต้อง นัด F/U ให้มีการทำจริง
|
4
ตั้งใจทำ( Action) ลองเปลี่ยนแปลงด้วยตนเองแล้ว
(คนอื่นเห็นการปป.ชัดภายใน 6 เดือน
แต่ยังไม่เห็นผล)
|
เริ่มทำพฤติกรรมใหม่
|
1.หาหนทางให้คงพฤติกรรม ต่อเนื่อง
2.เน้นให้ภูมิใจ รู้สึกดีที่ทำ บอกประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
3.วางแผนถึงอุปสรรควันข้างหน้า
4.นัด F/U
|
5
ติดตาม (Maintenance)
มีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน
เห็นผล
|
ยังคงทำพฤติกรรมใหม่ต่อเนื่อง
|
1.นัดมาเป็นระยะๆป้องกันการกลับไปทำซ้ำ
2.ชื่นชม อาจให้เป็นผู้ป่วยตัวอย่าง
3.ให้ผู้ป่วยเล่าถึงความรู้สึกที่ทำได้ ,การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
|
6.ติดกลับซ้ำ (relapse)
|
กลับมามีพฤติกรรมเสี่ยงเดิม
มักรู้สึกละอาย
|
1.ให้กำลังใจบอกว่าไม่ใช่การล้มเหลว เป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นได้ ควรสื่อกับผู้ป่วยว่า
ในครั้งที่ผ่านมาจะเป็นบทเรียนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่ได้ถาวร
2.กลับมาเริ่มใหม่ ดูว่าอยู่ระยะใดใหม่
3.
แต่เน้นว่า ล้มเหลวเพราะอะไร จะแก้อย่างไร
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น